การวิจัยประเมินผลคุณธรรม 8 ประการของผู้เรียน: เจตคติและพฤติกรรม

งานวิจัยนี้มุ่งที่จะพัฒนามาตรวัดคุณธรรมจากพฤติกรรมและเจตคติของกลุ่มตัวอย่างนักเรียน นิสิต นักศึกษา อายุ 11-22 ปี โครงการนี้ได้จัดทำในปี พ.ศ. 2550-2551 พวกเราได้นำนโยบายคุณธรรม 8 ประการมาสร้างมาตรวัด และขยายเป็นคุณธรรม 9 ประการในภายหลัง ประกอบด้วย

  1. ขยัน
  2. ประหยัด
  3. ซื่อสัตย์
  4. มีวินัย
  5. สุภาพ
  6. สะอาดกาย
  7. สะอาดใจ
  8. สามัคคี
  9. มีน้ำใจ

หลังจากนั้น พวกเราได้ใช้มาตรเหล่านี้ในการตรวจสอบโครงการพัฒนาคุณธรรมที่ได้จัดทำในโรงเรียนต่างๆ ในประเทศไทย พวกเราได้สุ่มโรงเรียนจากทั้งประเทศ และนำมาตรวัดไปวัด 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงระหว่างที่มีการจัดทำนโยบายการพัฒนาคุณธรรม และภายหลังโครงการการพัฒนาคุณธรรม ของกระทรวงศึกษาธิการ จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดประกอบด้วย 7,764 คน ในสถานศึกษา 119 แห่ง ผลที่ได้พบว่าอิทธิพลของโรงเรียนที่มีต่อคะแนนคุณธรรมของโรงเรียนประถมและมัธยมต้นอยู่ในระดับสูง แต่อิทธิพลของโรงเรียนในระดับปริญญาตรีอยู่ในระดับต่ำ (ICC = .40 vs. .09) นักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยสูง ผู้หญิง จะมีคะแนนคุณธรรมสูงกว่า เนื่องจากโครงสร้างของข้อมูลประกอบไปด้วยข้อคำถามซ้อนในนักเรียนซ้อนในโรงเรียน พวกเราจะใช้โมเดลพหุระดับสามระดับแบบหลายตัวแปร (Multivariate three-level model; Raudenbush, Rowan, and Kang, 1991) คะแนนความเปลี่ยนแปลงจะมีค่าสูงในอาชีวศึกษา มัธยมปลาย และประถมปลาย

หมายเหตุ

ไฟล์ที่ด้านในเป็นภาษาอังกฤษจะเป็นลิงค์สีน้ำเงินหรือตารางสีน้ำเงิน ไฟล์ที่ด้านในเป็นภาษาไทยจะเป็นลิงค์สีแดงหรือตารางสีแดง

ผู้วิจัย

  1. สันทัด พรประเสริฐมานิต
  2. พรรณระพี สุทธิวรรณ
  3. สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต
  4. กุลยา พิสิษฐ์สังฆการ
  5. ชวัลณัฐ เหล่าพูนพัฒน์
  6. กฤษณ์ อริยะพุทธิพงศ์
  7. ทิพย์นภา หวนสุริยา

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

งานตีพิมพ์

งานวิจัยฉบับสมบูรณ์. รายงาน.

รายงานหลังจากการเก็บข้อมูลครั้งที่ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร. เอกสาร. ภาคผนวก.

รายงานหลังจากเก็บข้อมูลนำร่อง. Excel.

รายงานก่อนเก็บข้อมูลนำร่อง. เอกสาร.

การนำเสนอ

การนำเสนอฉบับสมบูรณ์. สไลด์นำเสนอ.

การนำเสนอหลังจากการเก็บข้อมูลครั้งที่ 1. สไลด์นำเสนอ.

งานสัมมนาเรื่องการวัดคุณธรรม. สไลด์นำเสนอ.

การนำเสนอเรื่องแผนการเก็บข้อมูลครั้งที่ 1. สไลด์นำเสนอ.

ข้อมูล

การเก็บข้อมูลทำร่อง

  • สุภาพ. ข้อมูล.
  • สะอาดกายและสะอาดใจ. ข้อมูล.
  • ซื่อสัตย์และมีวินัย. ข้อมูล.
  • ขยันและประหยัด. ข้อมูล.
  • สามัคคีและมีน้ำใจ. ข้อมูล.
  • มาตรการตอบสนองตามความคาดหวังของสังคมของ Marlown-Crowne. ข้อมูล.
  • มาตรการตอบสนองตามความคาดหวังของสังคมสำหรับเด็ก. ข้อมูล.

การเก็บข้อมูลจริงครั้งที่ 1

กลุ่ม ข้อมูลดิบระดับนักเรียน ระดับข้อคำถาม ระดับนักเรียน ระดับโรงเรียน
ปริญญาตรี ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
อาชีวะศึกษา ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
มัธยมปลาย ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
มัธยมต้น ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ประถมปลาย ฟอร์มที่ 3 ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ประถมปลาย ฟอร์มที่ 4 ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล

การเก็บข้อมูลจริงครั้งที่ 2

กลุ่ม ข้อมูลดิบระดับนักเรียน ระดับข้อคำถาม ระดับนักเรียน ระดับโรงเรียน
ปริญญาตรี ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
อาชีวะศึกษา ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
มัธยมปลาย ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
มัธยมต้น ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ประถมปลาย ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล

คะแนนการเปลี่ยนแปลง (รวมการเก็บข้อมูลครั้งที่ 1 และ 2)

กลุ่ม ข้อมูลดิบระดับนักเรียน ระดับข้อคำถาม ระดับนักเรียน ระดับโรงเรียน
ปริญญาตรี ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
อาชีวะศึกษา ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
มัธยมปลาย ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
มัธยมต้น ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ประถมปลาย ฟอร์มที่ 3 ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ประถมปลาย ฟอร์มที่ 4 ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล

โค๊ด SPSS

  • การเก็บข้อมูลนำร่อง. โค๊ด SPSS.
  • การเก็บข้อมูลจริงครั้งที่ 1. โค๊ด SPSS.
  • การเก็บข้อมูลจริงครั้งที่ 2. โค๊ด SPSS.
  • คะแนนการเปลี่ยนแปลง. โค๊ด SPSS.

แบบสอบถาม

ก่อนการเก็บข้อมูลนำร่อง

รายการข้อคำถาม. Excel.

การเก็บข้อมูลนำร่อง

การเก็บข้อมูลจริงครั้งที่ 1

  • คู่มือแบบสอบถามระดับนักเรียน. Paper..
  • คู่มือแบบสอบถามระดับโรงเรียน. Paper.
  • แบบสอบถามนักเรียนฟอร์มที่ 1. แบบสอบถาม.
  • แบบสอบถามนักเรียนฟอร์มที่ 2. แบบสอบถาม.
  • แบบสอบถามนักเรียนฟอร์มที่ 3. แบบสอบถาม.
  • แบบสอบถามนักเรียนฟอร์มที่ 4. แบบสอบถาม.
  • แบบสอบถามนักเรียนจากการดึงข้อมูลจากประวัติ. แบบสอบถาม.
  • แบบสอบถามระดับโรงเรียน. แบบสอบถาม.

การเก็บข้อมูลจริงครั้งที่ 2